ทำไมวิศวะอุตสาหการ คือหนึ่งในภาควิชาที่ถูกเรียกว่าเป็น “เป็ด”.
โลกของเรานั้นมีชั้นบรรยากาศห่อหุ้มออยู่ เมื่อแสงอาทิตย์เดินทางมาตกกระทบกับโมเลกุลของอากาศ ทำให้โมเลกุลดูดกลืนแสงเข้าไป และทำให้อิเล็กตรอนในอะตอมเกิดการสั่น และเกิดการปลดปล่อยแสงออกมาในทิศทางต่างๆ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า การกระเจิงของแสง.
ใบประกอบวิศวกรรม หรือ กว. นับเป็นใบเบิกทางอย่างหนึ่งสำหรับวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการก้าวเข้าสู่ตลาดงาน หรือการเติบโตในสายอาชีพ แต่หลายคนอาจยังไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นเตรียมตัวอย่างไรดี วันนี้เราจะพาไปไขข้อข้องใจทุกอย่างเกี่ยวกับการสอบ กว. เพื่อให้คุณพร้อมสำหรับการสอบครั้งนี้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกร (กว.) คือใบอนุญาตที่ออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม โดยสภาวิศวกร การมีใบ กว. หมายความว่าผู้ถือใบอนุญาตมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เพียงพอในการปฏิบัติงานวิศวกรรมได้อย่างมีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
คลิปติววิชา Calculus หรือ Mathematics ระดับมหาลัย ภายในลิ้งจะมีเอกสารเป็น PDF ไว้ประกอบการเรียนคลิปติววิชาฟิสิกส์ ระดับมหาลัย ภายในลิ้งจะมีเอกสารเป็น PDF ไว้ประกอบการเรียน
สอนใช้เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ Casio fx-991EX Classwizแล้วเจอกันวันจันทร์ที่ 13 พ.ค. 2567 ที่ Slope 200 ม.เทคโนฯพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT) นะครับ
หลายคนคงเคยช่วยคุณพ่อคุณแม่ทำอาหาร หรือดูรายการแข่งขันทำอาหาร อาจจะเคยเห็นหม้ออัดแรงดัน หรือ Pressure Cooker ซึ่งเป็นตัวช่วยร่นระยะเวลาในการต้มหรือตุ๋นอาหารให้สุก เปื่อยนุ่มได้ในระยะเวลาสั้นๆ แล้วประเด็นคือ หม้ออัดแรงดันมันมีหลักการทำงานยังไงที่สามารถอธิบายได้ด้วยฟิสิกส์ละ...?.
อันดับที่ 4 : วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมเคมีมีต้นกำเนิดมาจากการพยายามนำวิทยาศาสตร์เคมีมาใช้ในการพัฒนาและผลิตสารเคมีในภาคอุสหกรรม ก่อตั้งครั้งแรกที่ MIT ในปี 1888 คือไม่กี่ 10 ปีหลังสิ้นสุดปฏิบัติอุสหกรรม และการออกแบบกระบวนการผลิตในการแปรรูปเคมีภัณฑ์ยังเป็นที่ต้องการจนถึงปัจจุบัน
เริ่มต้นจากที่ว่าแสงทั่วไปในธรรมชาติเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีสนามไฟฟ้าเดินทางมาและอยู่ในทิศทางต่างๆ เต็มไปหมด ซึ่งเรียกว่า “แสงไม่โพลาไรซ์ (Unpolarized light)” แต่ถ้าหากแสงที่เดินทางมามีสนามไฟฟ้าเหลืออยู่ในทิศทางเดียว ก็จะเรียกว่า “แสงโพลาไรซ์ (Polarized light)”นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่ามีวิธีการหลายอย่างที่เปลี่ยนแสงไม่โพลาไรซ์ให้กลายเป็นแสงโพลาไรซ์ได้ เช่น การใช้ฟิลเตอร์โพลารอยด์ ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งมาดูดกลืนสนามไฟฟ้าให้เหลือออกมาได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น แต่ก็จะทำให้แสงโพลาไรซ์ที่ได้มีความเข้มลดลงด้วย และอีกวิธีหนึ่งคือการสะท้อน ถ้าแสงไปตกกระทบที่ผิวน้ำ หรือกระจกก็จะเกิดการสะท้อนได้ โดยปกติแล้วแสงที่สะท้อนออกมาจะไม่ได้เป็นแสงโพลาไรซ์ 100% ซึ่งเรียกว่าแสงโพลาไรซ์บางส่วน แต่ถ้าแสงตกกระทบด้วยมุมที่เหมาะสมก็จะทำให้เป็นแสงสะท้อนเป็นแสงโพลาไรซ์ 100% ได้
อาร์คิมิดีส (Archimedes) เกิดเมื่อ 287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก เเม้ไม่ค่อยมีใครรู้เรื่องราวเกี่ยวกับรายละเอียดในชีวิตของเขามากนัก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิค ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล, สถิตยศาสตร์ และการอธิบายหลักการเกี่ยวกับ "คาน"เขาได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น ซึ่งรวมไปถึงปั๊มเกลียว (screw pump) ซึ่งได้ตั้งชื่อตามชื่อของเขาด้วย.
เเรง คือปริมาณที่สำคัญมากในวิชาฟิสิกส์ เเละทุกคนรู้มั้ยครับว่า เเรงบนโลกของเรานั้นมีกี่ชนิดส่วนใหญ่เราจะรู้จักเเรงได้จากหลายเหตุการณ์ เช่น เวลาที่เราผลักวัตถุ หรือดันวัตถุ หรือเเม้กระทั่งเเรงพิเศษต่างๆ เช่น เเรงตึงเชือก, เเรงโน้มถ่วง, เเรงต้านอากาศ ซึ่งในวิชาฟิสิกส์นั้นเเรงในธรรมชาติจำพวกนี้ จะถูกจัดกลุ่มทั้งหมดออกเป็น 4 กลุ่มด้วยกันนั้นก็คือ...